Action plan


1. เป็นศูนย์กลางความรู้ทางด้านวิชาการโรคติดเชื้อเด็ก ที่ทันสมัย เป็นกลางและเชื่อถือได้
     1.1 ประชุมวิชาการ
          1.1.1 Short course and annual meetings
               - at least once a year
          1.1.2 Inter-hospital conference
               - At least 4 times a year
          1.1.3 Lecture tour
               - Once a year
     1.2 Bulletins
          - Topics: Infectious Control (IC) corner, Tropical disease?, interesting case, spot diagnosis, hot topic
     1.3 Website, E-mail list, links to Beauro of Epidemiology (BoE), NARST, Emerging disease network, Vaccine adverse event ? (AEFI), ID expert consultants, move toward English website
          1.3.1 Form working group
          1.3.2 Organize fact sheet and FAQ
          1.3.3 Information for healthcare provider
               - Fact sheet: tropical disease 4 topics
               - Treatment guidelines of PID: national HIV guideline (??KPI)
          1.3.4 Provide access point to medical literature
               - Create icon for medical literature access
               - Feasibility study for access medical literature
          1.3.5 Information for public
               - Common pediatric infectious disease fact sheet (50 topics)
               - Announcement of emerging infectious disease
               - Vaccine information sheet ( VIS) 20 topics
     1.4 Provide consultancy and policy advocacy
          1.4.1 Formal consultancy
          1.4.2 Participate in various organizations influencing public policy
          1.4.3 Influence public policy
     1.5 เป็นที่ปรึกษาด้านโรคติดเชื้อ ทั้งภาครัฐบาล และเอกชน
          1.5.1 Formal consultancy
          1.5.2 Participate in various organizations influencing public policy
          1.5.3 Influence public policy
     1.6 ให้ความร่วมมือ ประสานงานกับองค์กรต่างๆ
          1.6.1 Formal consultancy
          1.6.2 Participate in various organizations influencing public policy
          1.6.3 Influence public policy

2. พัฒนาหลักสูตร และ บุคลากรที่เชี่ยวชาญด้านโรค ติดเชื้อเด็กอย่างต่อเนื่อง
     2.1 Training (local and international level)
          2.1.1 Formal fellowship training: minimum 1/year maximum 12/year
          2.1.2 International fellowship training:
               - Develop core curriculum, feasibility study
          2.1.3 Short course training for general ID (3-6 month)
               - Develop core curriculum, feasibility study
     2.2 Short course training for specific topics
          - Develop core curriculum, feasibility study
     2.3 Fellow Exchange Program
          - Look for partnership and develop collaboration
     2.4 Support training in the area of Pediatric Infectious Disease
          - Provide funding support for Ped ID fellowship training (1 fellow/year)

3. สนับสนุนและส่งเสริมให้มีผลงานวิจัยที่มีคุณภาพ ระดับสากล
     3.1 Build research network (multi-center)
          - Pending action and consensus from the Research panel of PIDST (Kulkanya) Young staff is to be recruited
     3.2 Support research development
          - Provide research funding/resources to young investigators
     3.3 Center of research information: provide expertise consultation, collaboration.
          - Create directory for expertise in PIDST

4. พัฒนาการดูแลรักษา และป้องกัน โรคติดเชื้อในเด็ก
     4.1 Develop and update clinical practice guidelines
          - Prioritize: HIV, TB, DHF, fever without localizing sign, sepsis and septic shock, AOM, sinusitis,
     4.2 เผยแพร่ความรู้แก่บุคลากรทางการแพทย์และ ประชาชน
          - Public relation (Chitsanu!), press release

วัตถุประสงค์ของสมาคม

1. แลกเปลี่ยนความรู้ และผลงานวิจัยเกี่ยวกับโรคติดเชื้อต่าง ๆ ในเด็ก
2. เผยแพร่ความรู้ จัดการอบรม และให้คำแนะนำทางด้านโรคติดเชื้อในเด็กแก่แพทย์ บุคลากรทางการแพทย์และประชาชน
3. สนับสนุน ส่งเสริมความก้าวหน้าทางด้านความรู้ การศึกษาวิจัยโรคติดเชื้อในเด็กในประเทศไทย
4. ร่วมมือกับองค์กรอื่นทั้งภาครัฐและเอกชนในประเทศไทยเพื่อดำเนินการศึกษา ป้องกันและควบ
คุมโรคติดเชื้อในเด็กให้มีประสิทธิภาพ
5. ร่วมมือและแลกเปลี่ยนความรู้กับสมาคมและสถาบันการแพทย์ทั้งในประเทศและต่างประเทศ
6. จัดการฝึกอบรมแพทย์เฉพาะทางด้านโรคติดเชื้อในเด็ก

กิจกรรมของสมาคม

กิจกรรมที่จัดเป็นประจำในแต่ละปีได้แก่

1. การอบรมระยะสั้นทางวิชาการ 1-2 ครั้ง ต่อปี
2. การประชุมใหญ่ประจำปี ปีละ 1 ครั้ง มักจัดให้ตรงกับช่วงวันหยุดของเดือน พฤษภาคม
3. Pediatric Infectious Disease Interhospital Conference 4 ครั้ง ต่อปี โดยมักจัดให้ตรงกับวันศุกร์ สัปดาห์ที่ 2 หรือ 3 ของเดือน กุมภาพันธ์ , พฤษภาคม (ร่วมกับการประชุมใหญ่ประจำปี),สิงหาคม , และ พฤศจิกายน
4. ให้ความร่วมมือกับราชวิทยาลัยกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย (รวกท.) และสมาคมกุมารแพทย์แห่งประเทศไทย ในการจัดการอบรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับโรคติดเชื้อในเด็ก